การติดตั้งแผ่นใยสังเคราะห์
Installation method
คำแนะนำสำหรับการต่อทาบแผ่นใยสังเคราะห์
การต่อทาบแผ่นใยสังเคราะห์ชนิดไม่ถักทอ
(Non woven geotextile)
ปัจจุบันการต่อทาบแผ่นใยสังเคราะห์ชนิดไม่ถักทอ จะมี 2 รูปแบบ คือ
- การเย็บ ข้อดี คือ สามารถประหยัดแผ่นใยสังเคราะห์ที่จะซ้อนทับได้
- การวางทับต่อทาบ ข้อดี คือ ทำงานง่าย
(Non woven geotextile)
ปัจจุบันการต่อทาบแผ่นใยสังเคราะห์ชนิดไม่ถักทอ จะมี 2 รูปแบบ คือ
- การเย็บ ข้อดี คือ สามารถประหยัดแผ่นใยสังเคราะห์ที่จะซ้อนทับได้
- การวางทับต่อทาบ ข้อดี คือ ทำงานง่าย
การเย็บต่อทาบแผ่นใยสังเคราะห์
สามารถใช้เครื่องเย็บมือสนาม แบบด้ายเดี่ยวหรือด้ายคู่ โดยรูปแบบการเย็บที่แนะนำได้แก่ Prayer seam, J seam
สามารถใช้เครื่องเย็บมือสนาม แบบด้ายเดี่ยวหรือด้ายคู่ โดยรูปแบบการเย็บที่แนะนำได้แก่ Prayer seam, J seam
การวางทับต่อทาบแผ่นใยสังเคราะห์
สามารถทำได้ด้วยการวางซ้อนทับกัน และยึดด้วยหมุดชั่วคราว เช่น เหล็ก J-pin เพื่อให้แผ่นใยสังเคราะห์อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการตามแบบ และเมื่อมีการถมวัสดุมวลรวมลงทับแล้วจะเป็นการจำกัดการเคลื่อนตัวของแผ่นใยสังเคราะห์ไปโดยปริยาย
ระยะซ้อนทับที่แนะนำ ดังนี้
- สำหรับการปูบนพื้นดินเดิมที่แน่น ระยะซ้อนทับประมาณ 30 cm.
- สำหรับการปูบนพื้นดินเดิมที่ค่อนข้างอ่อน ระยะซ้อนทับประมาณ 50 cm.
- สำหรับการปูใต้น้ำ ระยะซ้อนทับประมาณ 100 cm.
สามารถทำได้ด้วยการวางซ้อนทับกัน และยึดด้วยหมุดชั่วคราว เช่น เหล็ก J-pin เพื่อให้แผ่นใยสังเคราะห์อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการตามแบบ และเมื่อมีการถมวัสดุมวลรวมลงทับแล้วจะเป็นการจำกัดการเคลื่อนตัวของแผ่นใยสังเคราะห์ไปโดยปริยาย
ระยะซ้อนทับที่แนะนำ ดังนี้
- สำหรับการปูบนพื้นดินเดิมที่แน่น ระยะซ้อนทับประมาณ 30 cm.
- สำหรับการปูบนพื้นดินเดิมที่ค่อนข้างอ่อน ระยะซ้อนทับประมาณ 50 cm.
- สำหรับการปูใต้น้ำ ระยะซ้อนทับประมาณ 100 cm.